การวิจัยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research-PAR)
นับเป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาสังคมและชุมชน
โดยกระบวนการวิจัยก็ต้องดำเนินไปโดยความร่วมมือกับทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นลำดับขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบสิ้นกระบวนการ
เป็นขั้นตอนดังนี้
1) ขั้นการศึกษาบริบท (การสร้างแผนที่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ การออมเงิน
เศรษฐกิจชุมชนโดยการมีส่วนร่วมกับชุมชน)
2) ขั้นกำหนดปัญหา (การประชุมพูดคุยกับชาวบ้านถึงปัญหา
และสิ่งที่ชาวบ้านต้องการจริง ๆ)
3) ขั้นการวางแผนปฏิบัติงานวิจัย (ตัวแทนหรือผู้นำชุมชนมีส่วนร่วม เป็นผู้ร่วมทำวิจัย)
4) ขั้นการติดตาม ประเมินผลและแก้ไขปรับปรุงขณะร่วมทำการวิจัยกับชาวบ้าน
ตัวแทน และผู้นำชุมชน (ลงพื้นที่ตรวจสอบการวิจัยกับผู้นำชุมชน)
5) ขั้นการสรุปผลการวิจัย (ถอดแบบเรียนร่วมกับชาวบ้าน)
การมีส่วนร่วม (Participation) เป็นวิธีการ (Means) สำคัญที่จัดว่าเป็นหัวใจสำคัญประการหนึ่ง และเป็นสาระสำคัญของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบรวมรูปแบบการวิจัยหลายการวิจัยเข้าด้วยกัน
โดยผู้วิจัย กับตัวแทน ผู้นำชุมชน และชาวบ้านต้องมีส่วนร่วมคือ
- ร่วมศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา (ขั้นการศึกษาบริบท และขั้นการกำหนดปัญหา)
- ร่วมวางแผน (ขั้นการปฏิบัติวางแผนงานวิจัย)
- ร่วมดำเนินการ (ขั้นการติดตาม ตรวจสอบและแก้ไขปัญหา)
- ร่วมติดตามประเมินผลการดำเนินงานวิจัย (การติดตาม ประเมินผล และแก้ไขปรับปรุง)
- ร่วมรับผลประโยชน์ (ขั้นการสรุปผลการวิจัย )
- แผนที่ทางประวัติศาสตร์ชุมชน
Refer to: http://dhon63.blogspot.com/2011/09/blog-post_10.html
- แผนที่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
refer to: https://www.chillpainai.com/scoop/1333/
- แผนที่ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
Refer to: http://www.sedb.org/db16.html
👮👯👰👱👲👳👶👷👸
กลุ่มเรียน P1
กลุ่มเรียน P1
แผนการรับมือความรุนแรงโคราช
|
แผนการรับมือความรุนแรงโคราช
|
แผนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโคราช
|
แผนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโคราช
|
👮👯👰👱👲👳👶👷👸
กลุ่มเรียน P2
แผนการรับมือโรคระบาดโคราช
|
แผนการรับมือโรคระบาดโคราช
|
แผนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติโคราช
|
แผนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติโคราช
|
v
ตอบลบยอดเยี่ยมมากค่ะ
ตอบลบ