มหากรุณาธารณีสูตร
(มนต์บูชาเจ้าแม่กวนอิมหรือพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์) ภาษาสันสกฤต
บทสวดนีลกณฺฐ ธารณี ( नीलकण्ठ धारणी ) หรือ มหากรุณา ธารนี ( महा करुणा धारणी)
รู้จักในภาษาจีนว่า "ไต่ปุยจิ่ว" Dàbēi Zhòu (大悲咒)
नमो
रत्न त्रयाय नमः
นโม รตฺน
ตฺรยาย นมะ
आर्यावलोकितेश्वराय बोधिसत्त्वाय महासत्त्वाय महाकारुणिकाय
อารฺยาวโลกิเตศฺวราย
โพธิสตฺตฺวาย มหาสตฺตฺวาย มหาการุณิกาย
सर्व
बन्धन छेदन कराय.
สรฺว พนฺธน
เฉทน กราย
सर्व
भव समुद्रम् शोषण कराय.
สรฺว ภว
สมุทฺรมฺ โศษณ กราย
सर्व
व्याधि प्रशमन कराय.
สรฺว วฺยาธิ
ปฺรศมน กราย
सर्व
मृत्यु उपद्रव विनाशन कराय.
สรฺว มฤตฺยุ
อุปทฺรว วินาศน กราย
सर्व
भयेषु त्राण कराय.
สฺรว ภเยษุ
ตฺราณ กราย
तस्मात् नमस् - कृत्वा इदम् आर्यावलोकितेश्वर भाषितम् नीलकण्ठ
ตสฺมาตฺ นมสฺ –
กฤตฺวา อิทมฺ อารฺยาวโลกิเตศฺวร ภาษิตมฺ นีลกณฺฐ
पि
नाम हृदयम् आवर्त इष्यामि
ปิ นาม หฤทยมฺ
อาวรฺต อิษฺยามิ
सर्वार्थ-साधनम् सुभम् अजेयाम्
สรฺวารฺถ – สาธนมฺ
สุภมฺ อเชยามฺ
सर्व
भूतानाम् भव मार्ग विशोधकम्
สรฺว ภูตานามฺ
ภว มารฺค วิโศธกมฺ
तद्यथा,
ओम् आलोके आलोक-मति लोकाति
ตทฺยถา,
โอมฺ อาโลเก อาโลก – มติ โลกาติ
क्रान्ते,
हे हारे आर्यावलोकितेश्वर महाबोधिसत्त्व,
กฺรานฺเต เห
หาเร อารฺยาวโลกิเตศฺวร มหาโพธิสตฺตฺว
हे
बोधिसत्त्व, हे महाबोधिसत्त्व,
เห โพธิสตฺตฺว
, เห มหาโพธิสตฺตฺว,
हे
विर्य बोधिस्त्त्व हे महाकारुणिक स्मर हृदयम्.
เห วิรฺย
โพธิสตฺตฺว เห มหาการุณิก สฺมร หฤทยมฺ
हि
हि, हारे आर्यावलोकितेश्वर महेश्वर परम मैत्रचित्त महाकारुणिक.
หิ หิ, หาเร,
อารฺยาวโลกิเตศฺวร มเหศฺวร ปรม ไมตฺรจิตฺต มหาการุณิก
कुरु
कुरु कर्मन् साधय साधय विद्याम्.
กุรุ กุรุ
กรฺมนฺ สาธย สาธย วิทฺยามฺ
नि
हि, नि हि मे वर्नम् कामम्-गम.
นิ หิ, นิ หิ
เม วรฺนมฺ กามมฺ – คม.
वित्त-कम विगम. सिद्ध योगेश्वर.
วิตฺต-กม วิคม
สิทธํ โยเคศฺวร
धुरु
धुरु वीर्यन्ति, महा वीर्यन्ति.
ธุรุ ธุรุ
วีรฺยนฺติ, มหา วีรฺยนฺติ
धर धर धरेन्द्रेश्वर.
ธร ธร
ธเรนฺทฺเรศฺวร
चल
चल विमल अमल मूर्ते आर्यावलोकितेस्वर
จล จล วิมล
อมล มูรฺเต อารฺยาวโลกิเตศฺวร
जिन
कृष्ण जटा-मकुटवालम् मा प्रलम्ब महासिद्ध विद्याधर.
ชิน กฤษฺณ ชฏา
– มกุฏวาลมฺ มา ปฺรลมฺพ มหาสิทธ วิทฺยาธร
वर
वर महावर. बल बल महाबल.
วร วร มหาวร
พล พล มหาพล
चाल
चाल महाचाल कृष्ण वर्ण नीघ कृष्ण पक्ष निर्घातन.
จาล จาล
มหาจาล กฤษฺณ วรฺณ นีฆ กฤษฺณ ปกฺษ นิรฺฆาตน
हे
पद्महस्त चार चार देश चरेश्वर
เห, ปทฺมหสฺต
จาร จาร เทศ จเรศฺวร
कृष्ण सर्प कृत यज्ञोपवीत एह्येहि महा वराहमुख, त्रिपुर दाहनेश्वर
กฤษฺณ สรฺป
กฤต ปชฺโญปวีต เอหเยหิ มหา วราหมุข, ตฺริปุร ทาหเนศฺวร
नारायण व रूप वर मार्ग अरि.
นารายณ ว รูป
วร มารฺค อริ
हे
नीलकण्ठ, हे महाकार, हला हल विष निर्जित लोकस्य.
เห นีลกณฺฐ,
เห มหาการ, หลา หล วิษ นิรฺชิต โลกสฺย
राग
विष विनाशन.
ราค วิษ
วินาศน
द्वेष विष विनाशन.
ทฺเวษ วิษ
วินาศน
मोह
विष विनाशन
โมห วิษ
วินาศน
हुरु
हुरु माला, हुरु हुरु हारे, महा पद्मनाभ सार सार,
หุรุ หุรุ
มาลา, หุรุ หุรุ หาเร, มหา ปทฺมนาภ สาร สาร,
श्री
श्री, सुरु सुरु, भुरुच् भुरुच् बुधय बुधय,
ศฺรี ศฺรี
สุรุ สุรุ, ภุรุจฺ ภุรุจฺ พุธย พุธย,
बोद्धय बोद्धय मैत्री नीलकण्ठ एह्येहि वाम स्थित सिंहमुख हास हास,
โพทฺธย โพทฺธย
ไมตฺรี นีลกณฺฐ เอหเยหิ วาม สฺถิต สึหมุข หาส หาส,
मुञ्च मुञ्च महाट्टहासम् एहियेहि पा महा सिद्ध योगेश्वर भण भण वाचो साधय साधय विद्याम्.
มุญฺจ มุญฺจ
มหาฏฺฏหาสมฺ เอหิเยหิ ปา มหา สิทฺธ โยเคศฺวร ภณ ภณ วาโจ สาธย สาธย วิทฺยามฺ
स्मर
स्मरतां भगवन्तम् लोकित विलोकितम् लोकेश्वरम् तथागतम् ददाहि मे दर्शन कामस्य
สฺมร สฺมรตามฺ
ภควตฺตมฺ โลกิต วิโลกิตมฺ โลเกศฺวรมฺ ตถาคตมฺ ททาหิ เม ทรฺศน กามสฺย
दर्शनम् प्रह्लादाय मन स्वाहा.
ทรฺศนมฺ
ปฺรหฺลาทาย นม สฺวาหา
सिद्धाय स्वाहा.
สิทฺธาย สฺวาหา
महा
सिद्धाय स्वाहा
มหาสิทฺธาย
สฺวาหา
सिद्ध योगेश्वराय स्वाहा
สิทฺธ
โยเคศฺวราย สฺวาหา
नीलकण्ठाय स्वाह वराहमुखाय स्वाहा
นีลกณฺฐาย
สฺวาห วราหมุขาย สฺวาหา
महादर सिंहमुखाय स्वाहा
มหาทร
สึหมุขาย สฺวาหา
सिद्ध विद्याधराय स्वाहा
สิทฺธ
วิทฺยาธราย สฺวาหา
पद्महस्ताय स्वाहा
ปทฺมหสฺตาย สฺวาหา
कृष्ण सर्प कृत यज्ञोपवीताय स्वाहा
กฤษฺณ สรฺป
กฤต ยชฺโญปวีตาย สฺวาหา
महा
लकुट दहराय स्वाहा
มหา ลกุฏ
ทหราย สฺวาหา
चक्रायुद्धाय स्वाहा
จกฺรายุทฺธาย
สฺวาหา
सङ्खशब्दनि बोधनाय स्वाहा
สงฺขศพฺทนิ
โพธนาย สฺวาหา
वाम
स्कन्ध देश स्थित कृष्ण जिनाय स्वाहा
วาม สฺกนฺธ
เทศ สฺถิต กฤษฺณ ชินาย สฺวาหา
व्याघ्रचर्म निवासनाय स्वाहा
วฺยาฆฺรจรฺม
นิวาสนาย สฺวาหา
लोकेश्वराय स्वाहा
โลเกศฺวราย
สฺวาหา
सर्व
सिद्धेश्वराय स्वाहा
สรฺว สิทเธศฺวราย
สฺวาหา
नमो
भगवते आर्यावलोकितेश्वराय बोधिसत्त्वाय महासत्त्वाय महाकारुणिकाय.
นโม ภควเต
อารฺยาวโลกิเตศฺวราย โพธิสตฺตฺวาย มหาสตฺตฺวาย มหาการุณิกาย
सिध्यन्थु मे मन्त्र पदाय स्वाहा
สิธฺยนฺถุ เม มนฺตฺร ปทาย สฺวาหา
(ภาพพระอวโลกิเตศวร สิบเอ็ดหน้าพันมือ เศียรบนสุดคือพระอาทิพุทธ หรือพระอมิตาภะ [ถ้าเป็นกวนอิมของจีน])
(ในคัมภีร์อวโลกิเตศวร การัณฑวยูหสูตรของฝ่ายมหายาน
ได้กล่าวว่าในจักรวาลที่ว่างเปล่า พระอาทิพุทธกำเนิดขึ้นแรกสุด
แล้วจากนั้นพระองค์จึ่งสร้างพระอวโลกิเตศวร จากนั้นพระอวโลกิเตศวรจึงแบ่งภาคเป็นตรีมูรติ
คือพระพรหม พระนารายณ์ และพระศิวะ จากนั้นจึงสร้างพระสรัสวดีจากพระโอษฐ์ (ปาก) ของพระองค์ ฯลฯ)
อานิสงส์จากการเจริญจิตมหากรุณา ทำให้เกิดมหากุศล 15 ประการคือ
1.ชาติหน้าจะเกิดมาพบกุศลธรรมอันดีงาม
2.จะได้เกิดในสถานที่หรือประเทศ ที่มีแต่คนดีมีศีลธรรม
3.พบแต่ยามดี
4.พบแต่มิตรดี
5.ร่างกายประกอบด้วยอินทรีย์พร้อมมูล
6.จิตเป็นธรรมโดยสมบูรณ์
7.ไม่ผิดศีล
8.ญาติบริวารมีความกตัญญู ปรองดองกัน มีสามัคคีกัน
9.ทรัพย์สมบัติ โภคทรัพย์ มีความสมบูรณ์ครบถ้วน
10.มีผู้เคารพและให้ความช่วยเหลือเสมอ
11.ทรัพย์สินที่มีอยู่ไม่มีใครมาปล้นชิง
12.คิดปรารถนาสิ่งใดจะได้สมความปรารถนา
13.ทวยเทพ นาค ให้ความปกปักรักษาอยู่ทุกเมื่อ
14.ถ้าไปเกิดในสมัยที่พระพุทธเจ้าองค์ใดอุบัติขึ้น จะได้เฝ้า ได้ฟังธรรมของพระพุทธเจ้า
15.สามารถเข้าถึงอรรถแห่งพระธรรมที่ได้สดับทั้งปวง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น